Wu Green

นโยบาย

โครงการบริหารจัดการของเสีย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีความมุ่งเน้นการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยมีเป้าหมายในการบริหารจัดการของเสียภายในมหาวิทยาลัยทั้งหมด ทั้งการจัดการขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ และน้ำเสีย ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและการใช้พลังงานอย่างประหยัด สร้างสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมองค์กรที่ดี เพื่อให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน

คณะทำงาน Green DFA

1.นายไพรวัลย์ เกิดทองมี           หัวหน้าคณะทำงาน
2.นายไกรณรา เพชรสีเงิน          คณะทำงาน
3.นายวุฒิชัย คงชนะ                   คณะทำงาน
4.นายธีรวัฒน์ กั่งเซ่ง                  คณะทำงาน
5.นางพาณี ศรีนาค                      คณะทำงาน
6.นายปรีชา บุญเพ็ง                    คณะทำงาน
7.นางสาวอรอุมา เกิดทองมี        คณะทำงาน 

ด้านโครงสร้างพื้นฐาน(Setting and Infrastructure)

1. สถานที่ตั้งโครงการบริหารจัดการของเสีย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

    โครงการบริหารจัดการของเสีย ตั้งอยู่ ณ อาคารบ่อบำบัด เลขที่ 222 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160

แผนที่ พื้นที่

2.โครงการบริหารจัดการของเสีย กับสิ่งแวดล้อมสีเขียว
    ด้วยพื้นที่ ของโครงการฯ มีจำนวนกว่า 35 ไร่ เราให้ความสำคัญเกี่ยวกับบรรยากาศสิ่งแวดล้อม ความเขียวขจีของต้นไม้ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและร่มรื่นเหมาะสมกับการทำงาน

บรรยากาศ ต้นไม้ พื้นที่

3.จำนวนบุคลากรของ โครงการบริหารจัดการของเสีย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 

    มีจำนวนบุคลากร 35 คน ประกอบด้วย
    หัวหน้าโครงการฯ จำนวน 1 คน
    ลูกจ้างชั่วคราวรายเดือน จำนวน 8 คน
    ลูกจ้างชั่วคราวรายวัน จำนวน 26 คน

ด้านการจัดการพลังงานและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ(Energy and Climate Change)

1. มีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพในการช่วยประหยัดพลังงาน (Energy efficient appliances usage)

    – ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน สร้างให้เป็นนิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง

    – เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ หากมีอุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5

    – ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมง สำหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที สำหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5

    – หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศบ่อยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทำงานของเครื่องปรับอากาศ

    – ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่กำลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ต้องใช้พลังงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10

 

2. การผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในหน่วยงาน

    2.1 การติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ ช่วยเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้า

โซล่าเซล โซล่าเซล

     2.2 ผลิตขยะเชื้อเพลิง RDF เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าให้กับหน่วยงานและมหาวิทยาลัย

3. ปริมาณการใช้ไฟฟ้าทั้งปี

4. การอนุรักษ์พลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

    มาตรการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโครงการฯ ดังนี้

      4.1 ใช้พลังงานทดแทนจากพลังงานแสงอาทิตย์ เพราะพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานที่สะอาดมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด และช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก

โซล่าเซล

      4.2 ปลูกต้นไม้เพิ่มในโครงการฯ เพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยดูดซับคาร์บอนออกจากอากาศ และช่วยรักษาสภาพอากาศให้คงที่ ต้นไม้ช่วยลดโลกร้อนได้

ต้นไม้

การจัดการของเสียในหน่วยงาน Waste

1. การจัดการของเสียในสำนักงาน

การจัดการของเสียภายในสำนักงาน

ใช้ระบบบริหารจัดการสำนักงานดิจิทัล ( WU DOMS) ในการปฏิบัติงาน

การแยกกระดาษ

การใช้กระดาษรีไซเคิล

ลดการใช้พลาสติก

นโยบายลดพลาสติก การใช้ปิ่นโตแทนถุงพลาสติก/กล่องโฟม การใช้ถุงผ้าใส่ของ การใช้แก้วน้ำเก็บความเย็น ลดการใช้แก้วพลาสติก

2. การจัดการของเสียในหน่วยงาน

    การจัดการขยะแต่ละประเภท

ขยะอินทรีย์

ขยะอินทรีย์

ขยะรีไซเคิ้ล

รีไซเคิล

ขยะทั่วไป

รีไซเคิล

ขยะติดเชื้อ

ขยะติดเชื้อ ขยะติดเชื้อ

การจัดการน้ำ (Water)

การบำบัดน้ำ

การใช้น้ำจากการรีไซเคิลของ WMWU 

      น้ำบ่อสุดท้ายที่ได้จากการบำบัด นำไปเพาะเลี้ยงปลา และใช้รดน้ำต้นไม้ภายในมหาวิทยาลัยเพื่อให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์ให้เกิดคุณค่า

การขนส่ง (Transportation)

การขนส่ง รถไฟฟ้า 2

       ใช้รถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แทนรถยนต์และจักรยานยนต์ในการเดินทางติดต่อประสารงานทั้งภายในโครงการฯและภายนอกโครงการฯ

หัวหน้าโครงการฯใช้จักรยานในการติดตามและตรวจสอบงานในโครงการฯ

การศึกษาของหน่วยงาน (Education)

ข้อมูลตามเกณฑ์การประเมิน

1.รายวิชาทั้งหมดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน
2.จำนวนทุนวิจัยทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
3.จำนวนทุนวิจัยทั้งหมด
4.จำนวนผลงานตีพิมพ์ที่เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน
5.จำนวนงานแสดงทางวิชาการที่เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน
6.จำนวนชมรมหรือองค์กรนิสิตที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

 

เกณฑ์การประเมินทั้ง 6 ข้อ โครงการบริหารจัดการของเสีย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ไม่มีรายละเอียดที่ดูแลรับผิดชอบ